หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
ชื่อหน่วย พระอภัยมณีศิลปศาสตร์แห่งภาษา
รหัสวิชา ท 23101 รายวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ภาคเรียนที่ 1 เวลา 18 ชั่วโมง
เป้าหมายการเรียนรู้
สาระสำคัญ
1. การสรุปเนื้อหาอ่านวรรณคดีวรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถิ่น
2. การพูดแสดงความคิดเห็นและประเมินจากการฟังและการดู
3. มารยาทในการฟังและดู
4. การท่องจำและบอกคุณค่าของบทอาขยาน
5. การจำแนกและใช้คำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย
มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังอย่างมีวิจารณญาณ และแสดงความรู้ ความคิดและความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลังภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา
และพลังของภา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ตัวชี้วัด
1. พูดแสดงความคิดเห็นและประเมินจากการฟังและการดู
2. มีมารยาทในการฟังและดู
3. จำแนกและใช้คำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย
4. ท่องจำและบอกคุณค่าของบทอาขยาน
5. สรุปเนื้อหาวรรณคดีวรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถิ่น
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีระเบียบวินัย
2. มีความรับผิดชอบ
3. ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน
หลักฐานผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
เป้าหมาย
|
หลักฐานการเรียนรู้
|
สาระสำคัญ
1. การพูดแสดงความคิดเห็นและ
ประเมินจากการฟังและการดู
2. มารยาทในการฟังและดู
3. การจำแนกและใช้คำภาษาต่างประเทศ
ที่ใช้ในภาษาไทย
4. การท่องจำและบอกคุณค่าของ
บทอาขยาน
5. การอ่านวรรณคดีวรรณกรรมและ
วรรณกรรมท้องถิ่น
|
- พูดแสดงความคิดเห็นและประเมินจากการฟัง
และการดู
- มีมารยาทในการฟังและดู
- จำแนกและใช้คำภาษาต่างประเทศที่ใช้
ในภาษาไทย
- ท่องจำและบอกคุณค่าของบทอาขยาน
- สรุปเนื้อหาวรรณคดีวรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถิ่น
|
ตัวชี้วัด
1. พูดแสดงความคิดเห็นและ
ประเมินจากการฟังและการดู
2. มีมารยาทในการฟังและดู
3. จำแนกและใช้คำภาษาต่างประเทศ
ที่ใช้ในภาษาไทย
4. อ่านวรรณคดีวรรณกรรมและ
วรรณกรรมท้องถิ่น
|
- พูดแสดงความคิดเห็นและประเมินจากการฟัง
และการดู
- มีมารยาทในการฟังและดู
- จำแนกและใช้คำภาษาต่างประเทศที่ใช้ใน
ภาษาไทย
- สรุปเนื้อหาวรรณคดีวรรณกรรมและวรรณกรรม
ท้องถิ่น
|
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีระเบียบวินัย
2. ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน
3. มีความรับผิดชอบ
|
- สรุปเนื้อหาวรรณคดีวรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถิ่น
- เขียนชีวประวัติหรืออัตชีวประวัติ
- พูดแสดงความคิดเห็นและประเมินจากการฟังและการดู
- มีมารยาทในการฟังและดู
- จำแนกและใช้คำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย
|
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
หลักฐาน
|
กิจกรรม
|
สื่อ อุปกรณ์
|
ชั่วโมง
|
- สรุปเนื้อหาวรรณคดีวรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถิ่น
|
1. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน เรื่อง พระพระอภัยมณี
2. นักเรียนแบ่งกลุ่ม 4 กลุ่ม ๆ ละ 7-10 คน เลือกประธานและเลขานุการของกลุ่ม แล้วช่วยกันตั้งชื่อกลุ่ม
3. นักเรียนมอบหมายให้สมาชิกในกลุ่มช่วยกันอ่านหลักการพินิจคุณค่าวรรณคดีจากหนังสือเรียนภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และสนทนาร่วมกันเพื่อให้เกิดความเข้าใจยิ่งขึ้น
4. แต่ละกลุ่มศึกษาที่มา ประวัติผู้แต่ง ลักษณะคำประพันธ์(แบ่งตามความ
เหมาะสมของศักยภาพของสมาชิกของกลุ่ม) แล้วร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
5. สมาชิกแต่ละคนถอดคำประพันธ์หลังจากที่ได้รับมอบหมายให้อ่านเรื่อง พระอภัยมณีโดยแบ่งตามความเหมาะสมของสมาชิกในกลุ่ม6. สมาชิกทุกคนในกลุ่มทำความเข้าใจส่วนที่ตนเองได้รับมอบหมายแล้วเล่าให้
เพื่อนในกลุ่มฟัง ตามลำดับ แล้วสรุปเป็นผลงานกลุ่ม
|
1. หนังสือแบบเรียนวิชาภาษาไทยระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
2. แบบฝึกหัดเรื่องพระอภัยมณี
3. แบบทดสอบเรื่องพระอภัยมณี
4. แบบประเมิน
ป้ายนิเทศ
5. แบบประเมิน
การนำเสนอ
6. แบบประเมินกระบวนการกลุ่ม
7. แบบประเมินการร่วมกิจกรรม
|
8
|
หลักฐาน
|
กิจกรรม
|
สื่อ อุปกรณ์
|
ชั่วโมง
|
7. หัวหน้ากลุ่มจับฉลากให้ตัวแทนกลุ่มนำเสนอหน้าชั้นเรียน
8. ครูและนักเรียนร่วมกันติชมการนำเสนอของแต่ละกลุ่ม 9. ครูอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจมากขึ้น
10. แต่ละกลุ่มจัดทำป้ายนิเทศ ประกอบด้วยคำศัพท์ คุณค่าด้านเนื้อหา วรรณศิลป์ และสังคม
11. นักเรียนทำแบบฝึกจากคำถามท้ายบทลงในสมุด
12. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนและหลังเรียนเรื่อง
พระอภัยมณี
| |||
- พูดแสดงความคิดเห็นจาก
การฟังและดู
|
1. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน เรื่อง หลักการพูดแสดงความคิดเห็น
2. นักเรียนศึกษาใบความรู้ เรื่องหลักการพูดแสดงความคิดเห็นจากการฟังและดู
3. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุป
4. ครูกำหนดให้นักเรียนพูด
แสดงความคิดเห็นจากการฟังและดูรายการโทรทัศน์
5. นักเรียนพูดแสดงความ
คิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู
6. นักเรียนเขียนบทพูดลงในสมุดและฝึกพูดให้เกิดความชำนาญ
7. นักเรียนพูดหน้าชั้นเรียนทีละคนตามลำดับการจับฉลาก
8. ครูและนักเรียนร่วมกันประเมินและร่วมกันแสดงความคิดเห็น
|
1. ใบความรู้เรื่องการพูดแสดงความคิดเห็นและประเมินจากการฟังและการดู
2. แบบประเมินการพูดแสดงความคิดเห็นจากการฟังและดู
|
3
|
- จำแนกคำไทยกับคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
|
1. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนและหลังเรียนเรื่องคำไทยแท้กับคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
2. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 5 กลุ่มๆ ละ 7-8 คน โดยศึกษาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นจากใบความรู้เรื่องคำไทยแท้กับคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ โดยให้
นักเรียนแต่ละกลุ่มรวบรวมคำที่กำหนดกลุ่มละ 20 คำนอกเหนือจากที่มีในเอกสารที่ครูกำหนดไว้ ตามกำหนดดังนี้
2.1 กลุ่มที่ 1 คำไทยแท้
2.2 กลุ่มที่ 2 ภาษาบาลีสันสกฤต
2.3 กลุ่มที่ 3 ภาษาเขมร
2.4 กลุ่มที่ 4 ภาษาจีน
2.5 กลุ่มที่ 5 ภาษาอังกฤษ
3. แต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนและและนำเกมให้เพื่อนกลุ่มอื่นๆร่วมแข่งขัน
|
1. ใบความรู้เรื่อง คำไทยแท้กับคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
2. แบบฝึกหัด เรื่อง คำไทยแท้กับคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
3. แบบทดสอบก่อน
|
4
|
หลักฐาน
|
กิจกรรม
|
สื่อ อุปกรณ์
|
ชั่วโมง
|
4. ครูและนักเรียนติชมผลงานและอภิปรายสรุป
5. นักเรียนทำแบบฝึกหัดทบทวน
6. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
| |||
- การท่องจำและบอกคุณค่าของบทอาขยาน
|
1. ครูให้นักเรียนศึกษาคุณค่าของการท่องบทอาขยาน ที่นักเรียนจะต้องท่องจำจากหนังสือเรียนภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
2. นักเรียนอธิบายสรุปคุณค่าของการท่องบทอาขยาน การท่องบทอาขยานร่วมกัน
3. นักเรียนคัดบทอาขยานตัวบรรจงเต็มบรรทัดลงในสมุด
4. ครูอ่านบทอาขยานให้นักเรียนฟัง 1 เที่ยว
5. นักเรียนอ่านบทอาขยานพร้อมกัน 1 เที่ยว
6. ครูมอบหมายให้นักเรียนฝึกอ่านเป็นคู่ แลกเปลี่ยนกันอ่านและฟังติชมการอ่านร่วมกัน
7. นักเรียนฝึกอ่านด้วยตนเองจนท่องจำบทอาขยานได้
8. นักเรียนท่องบทอาขยานกับครูเป็นรายบุคคล
9. ครูติชมและประเมินการ
ท่องจำบทอาขยานของนักเรียน
|
1.หนังสือเรียนภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
2. แบบประเมินการท่องจำบทอาขยาน
3. แบบประเมินกระบวนการปฏิบัติ
4. แบบประเมินการร่วมกิจกรรม
|
2
|