วันเสาร์ที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ท 23102  รายวิชาภาษาไทย  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
เวลา  60 ชั่วโมง  จำนวน 1.5  หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 2

                ศึกษาการอ่านวิเคราะห์วิจารณ์  การอ่านประเมินค่า  การอ่านตีความและประเมินค่า   การเขียนข้อความตามสถานการณ์   การเขียนอธิบายชี้แจง แสดงความคิดเห็นและโต้แย้ง  การเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเห็นหรือโต้แย้งจากสื่อต่างๆ การกรอกแบบสมัครงาน   การเขียนรายงานและโครงงาน   การพูดในโอกาสต่างๆ  การพูดโน้มน้าว  ระดับภาษา  การใช้คำทับศัพท์  การใช้คำศัพท์บัญญัติ  การใช้คำศัพท์ทางวิชาการและวิชาชีพ  การแต่งบทร้อยกรอง  การวิเคราะห์วิถีไทยและคุณค่าจากวรรณคดีและวรรณกรรม 
โดยอ่านวิเคราะห์วิจารณ์  ตีความและประเมินค่า  อ่านแสดงความคิดเห็น  อ่านตีความและประเมินคุณค่าตามความสนใจ   เขียนข้อความตามสถานการณ์   เขียนอธิบายชี้แจง แสดงความคิดเห็นและโต้แย้ง  เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเห็นหรือโต้แย้งจากสื่อต่างๆ  กรอกแบบสมัครงาน  เขียนรายงานและโครงงานจากการค้นคว้า  พูดในโอกาสต่างๆ  พูดโน้มน้าว   ใช้ระดับภาษา  ใช้คำทับศัพท์  ใช้คำศัพท์บัญญัติ   อธิบายคำศัพท์ทางวิชาการและวิชาชีพ    แต่งบทร้อยกรอง   การวิเคราะห์วิถีไทยและคุณค่าจากวรรณคดีและวรรณกรรม   วิเคราะห์วิถีไทยและคุณค่าจากวรรณคดีและวรรณกรรม   
  เพื่อให้เห็นคุณค่าในการอ่าน   เพิ่มพูนสมรรถนะการอ่านการเขียนการฟัง การ ใช้ภาษาอย่างถูกต้อง  นำไปใช้ในการสื่อสาร  มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง ดูและการพูด เห็นคุณค่าวรรณคดี  วรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถิ่นในฐานะเป็นมรดกทางวัฒนธรรม  ภูมิใจในความเป็นไทย



มฐ ท 1.1   ม 3/5  ม 3/6   ม.3/7   ม 3/8   3 / 9
มฐ ท 2.1   3/6   3/7   3/8   3/9 
มฐ ท 3.1  3/3   3/4   3/5    3/6
มฐ ท 4.1  ม 3 /3  3/4   ม 3/5   ม 3/6
มฐ ท 5.1  3/2   3/3
จำนวน  19  ตัวชี้วัด




โครงสร้างรายวิชาภาษาไทย
รหัสวิชา ท 23102 ภาคเรียนที่ 2
ระดับชั้นมัธยมศึกษา ชั้น ม.3    เวลา  60  ชั่วโมง  จำนวน 1.5  หน่วยกิต
ลำดับที่
ชื่อหน่วยการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้
เวลา(ชั่วโมง)
น้ำหนักคะแนน
1
บทละครน่าสนใจให้ข้อคิด
  ท 1.1 ม 3 / 7
  ท 2.1 ม 3 / 6
  ท 3.1 ม 3 / 5

ท 3.1 ม 3 / 6
ท 2.1 ม 3 / 8
- การอ่านวิจารณ์จากเรื่อง
- การเขียนแสดงความคิดเห็นและโต้แย้ง
- การพูดโน้มน้าวนำเสนอหลักฐาน
  ตามลำดับเนื้อหา
- มารยาทการฟัง การดู และการพูด
- การกรอกแบบสมัครงาน
12
20
2
อิศรญาณภาษิต
ชวนพินิจตามวิถี
ท 5.1 ม 3 / 2

  ท 2.1 ม 3/ 7


ท 4.1 ม 3 /4
ท 4.1 ม 3 /5
ท 4.1 ม 3 /6
- การวิเคราะห์วิถีไทยและคุณค่า
  วรรณกรรมวรรณคดีที่อ่าน
- การเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์และ
  แสดงความรู้ความคิดเห็นหรือโต้แย้ง
  จากสื่อต่างๆ
- การใช้คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
- การใช้คำศัพท์ทางวิชาการและวิชาชีพ
- การแต่งบทร้อยกรองอย่างสร้างสรรค์
18
30
3
ศึกษาค้นคว้ารายงานหลากวิธี
ท 1.1 ม 3 / 8

ท 2.1 ม 3 / 9

ท 3.1 ม 3 / 3
ท 3.1 ม 3 / 4
- การอ่านแสดงความคิดเห็นโต้แย้ง
  จากเรื่องที่อ่าน
- การเขียนรายงานและโครงงาน
  จากการศึกษาค้นคว้า
- การพูดรายงานจากการค้นคว้า
- การพูดในโอกาสต่างๆ ตรงตามจุดประสงค์
12
20
4
บทพากย์เอราวัณ/กวีนิพนธ์ข้อคิดดีน่าติดตาม

ท 1.1 ม 3 / 5
ท 1.1 ม 3 / 6
ท 1.1 ม 3 / 9
ท 5.1 ม 3 / 3

ท 4.1 ม 3 /3
- การอ่านวิเคราะห์วิจารณ์ประเมินค่า
- การอ่านประเมินความถูกต้อง
- การอ่านตีความและประเมินค่า
- การสรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่าน
  วรรณกรรมและวรรณคดี
- ระดับภาษา
18
30


มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
รหัสวิชา ท 23102 ภาคเรียนที่ 2
ระดับชั้นมัธยมศึกษา ชั้น ม.3  เวลา  60  ชั่วโมง  จำนวน 1.5  หน่วยกิต
สาระที่ 1    การอ่าน

มาตรฐาน ท 1.1  ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการ

                           ดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน

ท 1.1 ม 3 / 5       วิเคราะห์วิจารณ์ประเมินค่าจากการอ่าน
ท 1.1 ม 3 / 6      ประเมินความถูกต้องของข้อมูลจากการอ่าน
ท 1.1 ม 3 / 7      วิจารณ์จากเรื่องที่อ่าน
ท 1.1 ม 3 / 8      แสดงความคิดเห็นโต้แย้งจากเรื่องที่อ่าน
ท 1.1 ม 3 / 9     ตีความและประเมินค่าจากการอ่าน
สาระที่ 2    การเขียน
มาตรฐาน ท 2.1    ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ  เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่าง   มีประสิทธิภาพ
ท 2.1 ม 3 / 6       เขียน อธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็นและโต้แย้ง
ท 2.1 ม 3 / 7       เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์และแสดงความรู้ความคิดเห็นหรือโต้แย้ง
จากสื่อต่างๆ
                                ท 2.1 ม 3 / 8       กรอกแบบสมัครงาน
ท 2.1 ม 3 / 9       เขียนรายงานและโครงงานจากการศึกษาค้นคว้า
สาระที่ 3    การฟัง การดู และการพูด

มาตรฐาน ท 3.1  สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ   

                        ความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์

ท 3.1 ม 3 / 3       พูดรายงานจากการค้นคว้า
ท 3.1 ม 3 / 4       พูดในโอกาสต่างๆ ตรงตามจุดประสงค์
ท 3.1 ม 3 / 5       การพูดโน้มน้าวนำเสนอหลักฐานตามลำดับเนื้อหา
ท 3.1 ม 3 / 6       มารยาทการฟัง การดู และการพูด
สาระที่ 4    หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน  ท 4.1  เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย  การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา 
                              ภูมิปัญญาทางภาษา  และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
ท 4.1 ม 3 /3         วิเคราะห์ระดับภาษา
ท 4.1 ม 3 /4         ใช้คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
ท 4.1 ม 3 /5         อธิบายความหมายคำศัพท์ทางวิชาการและวิชาชีพ
ท 4.1 ม 3 /6         แต่งบทร้อยกรองอย่างสร้างสรรค์
สาระที่ 5  วรรณคดีและวรรณกรรม

มาตรฐาน  ท 5.1  เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า

                         และนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

                        ท 5.1 ม 3 / 2      วิเคราะห์วิถีไทยและคุณค่าวรรณกรรมวรรณคดีที่อ่าน
ท 5.1 ม 3 / 3       สรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณกรรมและวรรณคดี












วันอาทิตย์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

หน่วยการเรียนที่ 2

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 
ชื่อหน่วย  พระอภัยมณีศิลปศาสตร์แห่งภาษา
รหัสวิชา ท 23101  รายวิชาภาษาไทย  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ภาคเรียนที่ 1  เวลา  18  ชั่วโมง

เป้าหมายการเรียนรู้
สาระสำคัญ
1.       การสรุปเนื้อหาอ่านวรรณคดีวรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถิ่น
              2.   การพูดแสดงความคิดเห็นและประเมินจากการฟังและการดู
              3.   มารยาทในการฟังและดู
4.   การท่องจำและบอกคุณค่าของบทอาขยาน
                5.   การจำแนกและใช้คำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย
มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
              มาตรฐาน ท 3.1  สามารถเลือกฟังอย่างมีวิจารณญาณ  และแสดงความรู้ ความคิดและความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
              มาตรฐาน ท 4.1  เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลังภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา
และพลังของภา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
มาตรฐาน ท 5.1  เข้าใจและแสดงความคิดเห็น  วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
               ตัวชี้วัด 
              1.  พูดแสดงความคิดเห็นและประเมินจากการฟังและการดู
              2.  มีมารยาทในการฟังและดู
                3.  จำแนกและใช้คำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย
4.  ท่องจำและบอกคุณค่าของบทอาขยาน
5.  สรุปเนื้อหาวรรณคดีวรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถิ่น
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
                             1.  มีระเบียบวินัย
                           2.  มีความรับผิดชอบ
3.  ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน




หลักฐานผลการเรียนรู้ของผู้เรียน

เป้าหมาย
หลักฐานการเรียนรู้
สาระสำคัญ
1.   การพูดแสดงความคิดเห็นและ
                   ประเมินจากการฟังและการดู
              2.  มารยาทในการฟังและดู
                3.  การจำแนกและใช้คำภาษาต่างประเทศ
                   ที่ใช้ในภาษาไทย
4.  การท่องจำและบอกคุณค่าของ
     บทอาขยาน
5.  การอ่านวรรณคดีวรรณกรรมและ
     วรรณกรรมท้องถิ่น

-  พูดแสดงความคิดเห็นและประเมินจากการฟัง
   และการดู
-  มีมารยาทในการฟังและดู
-  จำแนกและใช้คำภาษาต่างประเทศที่ใช้
    ในภาษาไทย
-  ท่องจำและบอกคุณค่าของบทอาขยาน

-  สรุปเนื้อหาวรรณคดีวรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถิ่น
ตัวชี้วัด
1.       พูดแสดงความคิดเห็นและ
ประเมินจากการฟังและการดู
              2.   มีมารยาทในการฟังและดู
                3.   จำแนกและใช้คำภาษาต่างประเทศ
                    ที่ใช้ในภาษาไทย
4.       อ่านวรรณคดีวรรณกรรมและ
      วรรณกรรมท้องถิ่น


-  พูดแสดงความคิดเห็นและประเมินจากการฟัง
    และการดู
-  มีมารยาทในการฟังและดู
-  จำแนกและใช้คำภาษาต่างประเทศที่ใช้ใน
    ภาษาไทย
-  สรุปเนื้อหาวรรณคดีวรรณกรรมและวรรณกรรม
   ท้องถิ่น
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
     1.  มีระเบียบวินัย
     2.  ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน
     3.  มีความรับผิดชอบ
-  สรุปเนื้อหาวรรณคดีวรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถิ่น
-  เขียนชีวประวัติหรืออัตชีวประวัติ
-  พูดแสดงความคิดเห็นและประเมินจากการฟังและการดู
-  มีมารยาทในการฟังและดู
-  จำแนกและใช้คำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย





การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้

หลักฐาน
กิจกรรม
สื่อ อุปกรณ์
ชั่วโมง
 - สรุปเนื้อหาวรรณคดีวรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถิ่น


1.   นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน เรื่อง พระพระอภัยมณี
2.   นักเรียนแบ่งกลุ่ม 4 กลุ่ม ๆ ละ 7-10 คน เลือกประธานและเลขานุการของกลุ่ม  แล้วช่วยกันตั้งชื่อกลุ่ม
3.   นักเรียนมอบหมายให้สมาชิกในกลุ่มช่วยกันอ่านหลักการพินิจคุณค่าวรรณคดีจากหนังสือเรียนภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และสนทนาร่วมกันเพื่อให้เกิดความเข้าใจยิ่งขึ้น
4.   แต่ละกลุ่มศึกษาที่มา  ประวัติผู้แต่ง  ลักษณะคำประพันธ์(แบ่งตามความ
เหมาะสมของศักยภาพของสมาชิกของกลุ่ม)  แล้วร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
5.   สมาชิกแต่ละคนถอดคำประพันธ์หลังจากที่ได้รับมอบหมายให้อ่านเรื่อง พระอภัยมณีโดยแบ่งตามความเหมาะสมของสมาชิกในกลุ่ม6.  สมาชิกทุกคนในกลุ่มทำความเข้าใจส่วนที่ตนเองได้รับมอบหมายแล้วเล่าให้
เพื่อนในกลุ่มฟัง ตามลำดับ  แล้วสรุปเป็นผลงานกลุ่ม
1. หนังสือแบบเรียนวิชาภาษาไทยระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
2.  แบบฝึกหัดเรื่องพระอภัยมณี
3.  แบบทดสอบเรื่องพระอภัยมณี
4. แบบประเมิน
ป้ายนิเทศ
5.  แบบประเมิน
การนำเสนอ
6.  แบบประเมินกระบวนการกลุ่ม
7.  แบบประเมินการร่วมกิจกรรม



8



หลักฐาน
กิจกรรม
สื่อ อุปกรณ์
ชั่วโมง

7.   หัวหน้ากลุ่มจับฉลากให้ตัวแทนกลุ่มนำเสนอหน้าชั้นเรียน
8.   ครูและนักเรียนร่วมกันติชมการนำเสนอของแต่ละกลุ่ม  9.  ครูอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจมากขึ้น
10.   แต่ละกลุ่มจัดทำป้ายนิเทศ  ประกอบด้วยคำศัพท์   คุณค่าด้านเนื้อหา  วรรณศิลป์ และสังคม 
11.  นักเรียนทำแบบฝึกจากคำถามท้ายบทลงในสมุด
12. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนและหลังเรียนเรื่อง
พระอภัยมณี


- พูดแสดงความคิดเห็นจาก
การฟังและดู
1.  นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน   เรื่อง  หลักการพูดแสดงความคิดเห็น
2.  นักเรียนศึกษาใบความรู้ เรื่องหลักการพูดแสดงความคิดเห็นจากการฟังและดู
3.  ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุป
4.  ครูกำหนดให้นักเรียนพูด
แสดงความคิดเห็นจากการฟังและดูรายการโทรทัศน์
5. นักเรียนพูดแสดงความ
คิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู
6.  นักเรียนเขียนบทพูดลงในสมุดและฝึกพูดให้เกิดความชำนาญ
7. นักเรียนพูดหน้าชั้นเรียนทีละคนตามลำดับการจับฉลาก
8.  ครูและนักเรียนร่วมกันประเมินและร่วมกันแสดงความคิดเห็น
1. ใบความรู้เรื่องการพูดแสดงความคิดเห็นและประเมินจากการฟังและการดู
2. แบบประเมินการพูดแสดงความคิดเห็นจากการฟังและดู

3
- จำแนกคำไทยกับคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
1.  นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนและหลังเรียนเรื่องคำไทยแท้กับคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
2.  นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น  5  กลุ่มๆ ละ 7-8 คน  โดยศึกษาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นจากใบความรู้เรื่องคำไทยแท้กับคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ  โดยให้
นักเรียนแต่ละกลุ่มรวบรวมคำที่กำหนดกลุ่มละ  20  คำนอกเหนือจากที่มีในเอกสารที่ครูกำหนดไว้   ตามกำหนดดังนี้
2.1  กลุ่มที่ 1  คำไทยแท้
2.2  กลุ่มที่ 2  ภาษาบาลีสันสกฤต
2.3  กลุ่มที่ 3  ภาษาเขมร
2.4  กลุ่มที่ 4  ภาษาจีน
2.5  กลุ่มที่ 5  ภาษาอังกฤษ
3.   แต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนและและนำเกมให้เพื่อนกลุ่มอื่นๆร่วมแข่งขัน

1.  ใบความรู้เรื่อง  คำไทยแท้กับคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ  
2.  แบบฝึกหัด เรื่อง  คำไทยแท้กับคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ  
3.   แบบทดสอบก่อน
4



หลักฐาน
กิจกรรม
สื่อ อุปกรณ์
ชั่วโมง

4.  ครูและนักเรียนติชมผลงานและอภิปรายสรุป
5.  นักเรียนทำแบบฝึกหัดทบทวน
6.  นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน


-  การท่องจำและบอกคุณค่าของบทอาขยาน
1.  ครูให้นักเรียนศึกษาคุณค่าของการท่องบทอาขยาน  ที่นักเรียนจะต้องท่องจำจากหนังสือเรียนภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
2.  นักเรียนอธิบายสรุปคุณค่าของการท่องบทอาขยาน  การท่องบทอาขยานร่วมกัน
3.  นักเรียนคัดบทอาขยานตัวบรรจงเต็มบรรทัดลงในสมุด
4.  ครูอ่านบทอาขยานให้นักเรียนฟัง  1  เที่ยว
5.  นักเรียนอ่านบทอาขยานพร้อมกัน  1 เที่ยว
6.  ครูมอบหมายให้นักเรียนฝึกอ่านเป็นคู่  แลกเปลี่ยนกันอ่านและฟังติชมการอ่านร่วมกัน
7.  นักเรียนฝึกอ่านด้วยตนเองจนท่องจำบทอาขยานได้
8.  นักเรียนท่องบทอาขยานกับครูเป็นรายบุคคล
9.  ครูติชมและประเมินการ
ท่องจำบทอาขยานของนักเรียน
1.หนังสือเรียนภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
2. แบบประเมินการท่องจำบทอาขยาน
3. แบบประเมินกระบวนการปฏิบัติ
4.  แบบประเมินการร่วมกิจกรรม

2